แชร์

20 อาชีพเมื่อจบจาก คณะวิศวกรรมศาสตร์ ออกไปทำงานได้ทันที

noimageauthor นักศึกษาฝึกงาน(คลัง)
อัพเดทล่าสุด: 9 ม.ค. 2025
291 ผู้เข้าชม

คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมชีวการแพทย์
1.นักวิศวกรชีวการแพทย์ประจำโรงบาล
2.นักวิศวกรชีวการแพทย์ให้คำปรึกษาด้านการจัดซื้อเครื่องมือแพทย์ชั้นสูง
3.นักการตลาดด้านเครื่องมือและอุปกรณ์ทางการแพทย์
4.นักวิศวกรออกแบบหน่วยของโรงพยาบาล
5.อาชีพอิสระด้านการผลิตเครื่องมือแพทย์และอุปกรณ์การแพทย์
6.นักวิศวกรอิเล็กทรอนิกส์

คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า
1.วิศวกรไฟฟ้า
2.วิศวกรโรงงาน
3.ผู้รับผิดชอบด้านพลังงาน
4.วิศวกรที่ปรึกษา
5.วิศวกรโครงการ
6.วิศวกรออกแบบ
7.ผู้รับเหมางานระบบ
8.ธุรกิจส่วนตัว

คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิชาวิศวกรรมพลังงานไฟฟ้า
1.วิศวกรพลังงานและวิศวกรไฟฟ้า ในโรงงานอุตสาหกรรม
2.ผู้รับผิดชอบ และผู้ช่วยผู้ตรวจสอบด้านพลังงาน
3.วิศวกรที่ปรึกษาด้านพลังงาน
4.วิศวกรออกแบบระบบไฟฟ้า และพลังงาน
5.ผู้รับเหมาระบบไฟฟ้า และพลังงาน
6.นักวิจัยด้านพลังงาน

คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา
1.วิศวกรโยธา
2.วิศวกรออกแบบ
3.วิศวกรควบคุมงานก่อสร้าง
4.วิศวกรประมาณราคา
5.อาจารย์

คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ
1.นักพัฒนาวางแผนพัฒนา-ควบคุม
2.วิศวกรการผลิต
3.วิศวกรรักษาความปลอดภัย
4.วิศวกรทางด้านการบำรุงรักษา

คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ 
1.วิศวกรคอมพิวเตอร์
2.วิศวกรเครือข่าย
3.นักวิเคราะห์และออกแบบซอฟต์แวร์
4.นักพัฒนาโปรแกรม

BY : Tonkla

ที่มา : admissionpremium.com


บทความที่เกี่ยวข้อง
จัดโซนในคลังให้ปัง: เทคนิคการแบ่งพื้นที่อย่างมือโปร
การจัดโซนในคลังสินค้าไม่ใช่แค่การแบ่งพื้นที่วางของเท่านั้น แต่เป็นหัวใจของการเพิ่มประสิทธิภาพ ลดต้นทุน และสร้างความพึงพอใจให้ลูกค้า
S__2711596.jpg BS&DC SAI5
6 ก.ค. 2025
เปลี่ยนคลังสินค้าให้เป็นจุดสร้างยอดขาย ไม่ใช่แค่ที่เก็บของ
หลายธุรกิจยังมองว่า “คลังสินค้า” คือที่เก็บของเฉยๆ เป็นต้นทุนที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ แต่ความจริงแล้ว ถ้าบริหารจัดการอย่างมีกลยุทธ์ คลังสินค้าสามารถเป็นเครื่องมือสร้างยอดขายให้ธุรกิจได้อย่างมหาศาล
S__2711596.jpg BS&DC SAI5
6 ก.ค. 2025
Warehouse KPI ที่คุณควรติดตาม ถ้าอยากให้คลังทำกำไร
คลังสินค้าไม่ได้เป็นแค่ที่เก็บของ แต่คือหัวใจของธุรกิจที่ช่วยสร้างประสบการณ์ให้ลูกค้า และลดต้นทุนได้อย่างมหาศาล ถ้าคลังของคุณ “ไม่มีกำไร” หรือ “ไร้ประสิทธิภาพ” อาจเพราะคุณยังไม่ได้ติดตาม KPI (Key Performance Indicators) ที่ถูกต้อง
S__2711596.jpg BS&DC SAI5
6 ก.ค. 2025
icon-messenger
เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสบการณ์ที่ดีในการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน ท่านสามารถอ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และ นโยบายคุกกี้
เปรียบเทียบสินค้า
0/4
ลบทั้งหมด
เปรียบเทียบ