จัดซื้อ กับ จัดหา ต่างหรือเหมือนกันอย่างไร ?
อัพเดทล่าสุด: 6 ม.ค. 2025
185 ผู้เข้าชม
การจัดหา (Procurement) มักจะถูกเข้าใจผิดว่าเป็นการจัดซื้อ (Purchasing) และทั้งสองคำนี้มักถูกนำมาใช้แทนกันบ่อยๆ แต่จริง ๆ แล้วทั้งสองฟังก์ชั่นนั้นค่อนข้างต่างกันชัดเจน - ทั้งในเป้าหมาย ขอบเขตงานที่ครอบคลุม บุคคลที่เกี่ยวข้อง และที่ชัดเจนที่สุด คือ เป้าหมายของงาน
การจัดซื้อ (Purchasing)
หมายถึง งานที่เกี่ยวข้องกับการซื้อสินค้าและบริการที่องค์กรต้องการ การจัดซื้อ เป็นเพียงส่วนหนึ่งของการจัดหา (Procurement) ซึ่งประกอบด้วยกิจกรรมต่างๆ เช่น การสั่งซื้อ เร่งรัดสินค้า รับสินค้าเข้าคลัง และชำระเงินให้ซัพพลายเออร์
หมายถึง งานที่เกี่ยวข้องกับการซื้อสินค้าและบริการที่องค์กรต้องการ การจัดซื้อ เป็นเพียงส่วนหนึ่งของการจัดหา (Procurement) ซึ่งประกอบด้วยกิจกรรมต่างๆ เช่น การสั่งซื้อ เร่งรัดสินค้า รับสินค้าเข้าคลัง และชำระเงินให้ซัพพลายเออร์
กระบวนการจัดซื้อ (Purchasing) ประกอบด้วย :
-Obtaining a purchase requisition (การขอรับคำขอซื้อจากแผนกต่าง ๆ)
-Requesting proposals and evaluating quotations (การขอข้อเสนอและการประเมินราคาจากผู้ขาย)
-Dispatching official purchase orders (ส่งคำสั่งซื้ออย่างเป็นทางการ)
-Receiving products and services (การรับสินค้าและบริการเข้าคลัง)
-Checking the quality of delivered items (ตรวจสอบคุณภาพของสินค้า)
-Effecting payment to vendors (การชำระเงินผู้ขาย)
-Requesting proposals and evaluating quotations (การขอข้อเสนอและการประเมินราคาจากผู้ขาย)
-Dispatching official purchase orders (ส่งคำสั่งซื้ออย่างเป็นทางการ)
-Receiving products and services (การรับสินค้าและบริการเข้าคลัง)
-Checking the quality of delivered items (ตรวจสอบคุณภาพของสินค้า)
-Effecting payment to vendors (การชำระเงินผู้ขาย)
What is Procurement ?
1.การจัดหา (Procurement) หมายถึง กิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการจัดหาผลิตภัณฑ์หรือบริการ เป็นคำที่ครอบคลุมงานที่เกิดขึ้นก่อน ระหว่าง และหลังการซื้อสินค้าและบริการ กระบวนการจัดหาเป็นวิธีการจัดหาที่เริ่มต้นจากการระบุความต้องการและสิ้นสุดลงต่อเมื่อความต้องการเป็นจริงหรือไม่มีอยู่อีกต่อไป
กระบวนการจัดหา (Procurement) ประกอบด้วย :
กระบวนการจัดหา (Procurement) ประกอบด้วย :
-Surveying the market (สำรวจตลาด)
-Spotting potential suppliers (การหาซัพพลายเออร์ที่มีศักยภาพ)
-Creating an approved list of vendors (การสร้างรายชื่อผู้ขายที่ได้รับอนุมัติ)
-Spotting internal needs (การระบุความต้องการภายใน)
-Creating a purchase order (การสร้างคำสั่งซื้อ)
-Requesting proposals and evaluating quotations (การขอข้อเสนอและการประเมินราคา)
-Selecting the right supplier and negotiating effectively (เลือกซัพพลายเออร์ที่เหมาะสมและเจรจาอย่างมีประสิทธิภาพ)
-Receiving goods and performing quality checks (การรับสินค้าและตรวจสอบคุณภาพ)
-Developing and managing contracts (การพัฒนาและการจัดการสัญญา)
-Developing and managing contracts (การพัฒนาและการจัดการสัญญา)
-Obtaining invoice approvals and fulfilling payment terms (รับใบแจ้งหนี้และปฏิบัติตามเงื่อนไขการชำระเงิน)
-Establishing a good supplier relationship (สร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับซัพพลายเออร์)
-Establishing a good supplier relationship (สร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับซัพพลายเออร์)
นอกเหนือจากรายการความแตกต่างที่กล่าวถึงข้างต้น การจัดหา (Procurement) และการจัดซื้อ (Purchasing) ยังมีความแตกต่างที่สำคัญอีกประการหนึ่ง คือ การจัดซื้อ (Purchasing) มุ่งเน้นไปที่เป้าหมายระยะสั้น 5 เป้าหมาย คือ คุณภาพที่เหมาะสม - ปริมาณที่เหมาะสม - ราคาที่เหมาะสม - สถานที่ที่เหมาะสม - เวลาที่เหมาะสม ในขณะที่การจัดหา (Procurement) มุ่งเน้นไปที่ยุทธศาสตร์ระยะยาว เช่น การได้เปรียบในการแข่งขันหรือความสอดคล้องกับกลยุทธ์หรือเป้าหมายขององค์กร
เนื่องจากการจัดซื้อ (Purchasing) เป็นกระบวนการภายในกระบวนการจัดหา (Procurement) จึงมักจะถูกใช้สลับกันได้ ดังนั้นในโลกธุรกิจการฝึกฝนการใช้คำศัพท์ที่คล้ายกันไม่ว่าจะเป็นบทสนทนาหรือสื่อสิ่งพิมพ์เป็นสิ่งที่ควรทำเป็นประจำ เพื่อหลีกเลี่ยงความสับสนในการใช้คำ ซึ่งอาจก่อให้เกิดความเสียหายในธุรกิจได้
BY : Jim
ที่มา : https://www.perfect-furniture.com/blogs/content/52
Tags :
บทความที่เกี่ยวข้อง
การบริหารคลังสินค้าให้พร้อมขาย ไม่ใช่แค่มีของอยู่เต็มโกดังเท่านั้น แต่คือการวางระบบที่ทำให้สินค้าเคลื่อนไหวได้ทันทีเมื่อมีออเดอร์เข้ามา
21 มิ.ย. 2025
ในการบริหารคลังสินค้า ต้นทุนเป็นหนึ่งในปัจจัยสำคัญที่กระทบโดยตรงต่อกำไรของธุรกิจ ไม่ว่าจะเป็นค่าเช่าพื้นที่ ค่าบุคลากร ค่าขนส่ง หรือค่าจัดการสินค้า
21 มิ.ย. 2025
ใช้ AI คิดชื่อแบรนด์ คำขวัญ สโลแกน และคอนเทนต์เพื่อสร้างตัวตน
ในยุคที่ธุรกิจขนส่งแข่งขันกันดุเดือด การสร้างแบรนด์ที่ “น่าจดจำ” ไม่ใช่แค่เรื่องของโลโก้สวยหรือชื่อเท่ แต่ต้องมี ตัวตนชัดเจน สื่อสารได้ตรงใจ และน่าเชื่อถือ และในวันที่เทคโนโลยี AI เข้ามาช่วยเปลี่ยนเกม เจ้าของธุรกิจสามารถใช้ ChatGPT มาเป็นที่ปรึกษาแบรนด์ส่วนตัวได้เลย!
21 มิ.ย. 2025