ความแตกต่างระหว่างการ “พิธีการศุลกากร” ขาเข้า และ ขาออก
อัพเดทล่าสุด: 27 ม.ค. 2025
217 ผู้เข้าชม
ทำความเข้าใจเกี่ยวกับพิธีการศุลกากรขาเข้า และ ขาออก
1.พิธีการศุลกากรขาออก
โดยพิธีการศุลกากรขาออก คือ การดำเนินการตรวจสอบข้อมูลต่างๆทั้งตัวสินค้า และ เอกสารในการส่งออกว่าเป็นไปตามระเบียบการที่กรมศุลกากรกำหนดเอาไว้ หรือ ไม่ ในการดำเนินการพิธีศุลกากรขาออกนั้นจะเป็นไปเพื่อเป็นการตรวจเช็คสินค้าที่จะออกนอกประเทศ ตรวจสอบเอกสารต่างๆ รวมไปถึงชำระภาษีอากรสำหรับการส่งออก ผู้ส่งออก หรือ ชิปปิ้ง จะต้องจัดเตรียมเอกสารแนบไปกับสินค้าที่จะส่งออก และ นำไปยื่นให้กับเจ้าหน้าที่ ถ้าหากเป็นสินค้าที่มีการควบคุมก็จะต้องมีการจัดเตรียมใบอนุญาตเพื่อแสดงต่อเจ้าหน้าที่ศุลกากรด้วย สำหรับการส่งออกผ่านทางอากาศ การดำเนินพิธีการศุลกากรขาออกจะเกิดขึ้นที่ท่าอากาศยานที่ใช้สำหรับการจัดส่งสินค้านั้นเอง
2.พิธีการศุลกากรขาเข้า
หากเป็นพิธีการศุลกากรขาเข้านั้นไม่ว่าจะเข้ามาทางช่องทางไหนผู้นำเข้า หรือ ชิปปิ้งจะต้องเตรียมเอกสารรายการสินค้านำเข้า และ ชื่อผู้ขำเข้ามายื่นต่อเจ้าหน้าที่ศุลกากรเนื่องจากสินค้าที่นำเข้าจะยังไม่ถือว่าเป็นสินค้าที่นำเข้าอย่างถูกต้องนอกจากสินค้าจะถูกขนส่งมายังสถานที่ปลายทางโดยผ่านการอนุญาตจากเจ้าหน้าที่ศุลกากรประเทศปลายทาง และ ชำระภาษีอากรขาเข้าเรียบร้อยแล้วจึงจะถือว่าเป็นสินค้าที่ได้รับการนำเข้าอย่างถูกต้องตามกฎหมาย ซึ่งผู้นำเข้ามีหน้าที่เตรียมเอกสารสำหรับพิธีการศุลกากรขาเข้านั้นเอง
โดยพิธีการศุลกากรขาออก คือ การดำเนินการตรวจสอบข้อมูลต่างๆทั้งตัวสินค้า และ เอกสารในการส่งออกว่าเป็นไปตามระเบียบการที่กรมศุลกากรกำหนดเอาไว้ หรือ ไม่ ในการดำเนินการพิธีศุลกากรขาออกนั้นจะเป็นไปเพื่อเป็นการตรวจเช็คสินค้าที่จะออกนอกประเทศ ตรวจสอบเอกสารต่างๆ รวมไปถึงชำระภาษีอากรสำหรับการส่งออก ผู้ส่งออก หรือ ชิปปิ้ง จะต้องจัดเตรียมเอกสารแนบไปกับสินค้าที่จะส่งออก และ นำไปยื่นให้กับเจ้าหน้าที่ ถ้าหากเป็นสินค้าที่มีการควบคุมก็จะต้องมีการจัดเตรียมใบอนุญาตเพื่อแสดงต่อเจ้าหน้าที่ศุลกากรด้วย สำหรับการส่งออกผ่านทางอากาศ การดำเนินพิธีการศุลกากรขาออกจะเกิดขึ้นที่ท่าอากาศยานที่ใช้สำหรับการจัดส่งสินค้านั้นเอง
2.พิธีการศุลกากรขาเข้า
หากเป็นพิธีการศุลกากรขาเข้านั้นไม่ว่าจะเข้ามาทางช่องทางไหนผู้นำเข้า หรือ ชิปปิ้งจะต้องเตรียมเอกสารรายการสินค้านำเข้า และ ชื่อผู้ขำเข้ามายื่นต่อเจ้าหน้าที่ศุลกากรเนื่องจากสินค้าที่นำเข้าจะยังไม่ถือว่าเป็นสินค้าที่นำเข้าอย่างถูกต้องนอกจากสินค้าจะถูกขนส่งมายังสถานที่ปลายทางโดยผ่านการอนุญาตจากเจ้าหน้าที่ศุลกากรประเทศปลายทาง และ ชำระภาษีอากรขาเข้าเรียบร้อยแล้วจึงจะถือว่าเป็นสินค้าที่ได้รับการนำเข้าอย่างถูกต้องตามกฎหมาย ซึ่งผู้นำเข้ามีหน้าที่เตรียมเอกสารสำหรับพิธีการศุลกากรขาเข้านั้นเอง
เอกสารที่จะต้องใช้สำหรับการพิธีการศุลกากรขาเข้า และ ขาออก
1.เอกสารสำหรับพิธีการศุลกากรขาออก
โดยสำหรับสินค้าที่จะถูกส่งออกไปต่างประเทศผู้ส่งออกควรมีเอกสารเพื่อใช้ในการส่งออกสินค้า และดำเนินพิธีการศุลกากรขาออกมีดังนี้
โดยสำหรับสินค้าที่จะถูกส่งออกไปต่างประเทศผู้ส่งออกควรมีเอกสารเพื่อใช้ในการส่งออกสินค้า และดำเนินพิธีการศุลกากรขาออกมีดังนี้
-Bill of Landing หรือ Air Way Bill ใบตราส่งสินค้า หรือ ใบตราส่งสินค้าทางอากาศ
-ใบ Invoice หรือ บัญชีแสดงรายการสินค้าสำหรับการส่งออกไปต่างประเทศ เป็นเอกสารที่บอกว่าสินค้าที่คุณจัดส่งมีสินค้าอะไรบ้าง
-Packing list บัญชีรายละเอียดการบรรจุหีบห่อ
-ใบอนุญาตส่งออก หรือ เอกสารอื่นๆในการควบคุมการส่งออก
-เอกสารรมยาไม้ Furmigation Certificate ใช้สำหรับการส่งออกสินค้าที่ทำจากไม้ ลังไม้
-เอกสารรับรองถิ่นกำเนิด certificate of origin สำหรับสิน้คาที่เป็นผ้า หรือ ไม้แปรรูปต่างๆ
-เอกสารรับรองสุขอนามัยพืช Phytosanitary Certificate สำหรับสิน้คาเกษตรเช่น ไม้ต่างๆ
-ISF filing form for USA สำหรับสินค้าทุกประเภทที่จะไปสหรัฐอเมริกาทางเรือ
-AFR filing form for Japan สำหรับสินค้าทุกประเภทที่จะไปญี่ปุ่นทางเรือ
-ใบ Invoice หรือ บัญชีแสดงรายการสินค้าสำหรับการส่งออกไปต่างประเทศ เป็นเอกสารที่บอกว่าสินค้าที่คุณจัดส่งมีสินค้าอะไรบ้าง
-Packing list บัญชีรายละเอียดการบรรจุหีบห่อ
-ใบอนุญาตส่งออก หรือ เอกสารอื่นๆในการควบคุมการส่งออก
-เอกสารรมยาไม้ Furmigation Certificate ใช้สำหรับการส่งออกสินค้าที่ทำจากไม้ ลังไม้
-เอกสารรับรองถิ่นกำเนิด certificate of origin สำหรับสิน้คาที่เป็นผ้า หรือ ไม้แปรรูปต่างๆ
-เอกสารรับรองสุขอนามัยพืช Phytosanitary Certificate สำหรับสิน้คาเกษตรเช่น ไม้ต่างๆ
-ISF filing form for USA สำหรับสินค้าทุกประเภทที่จะไปสหรัฐอเมริกาทางเรือ
-AFR filing form for Japan สำหรับสินค้าทุกประเภทที่จะไปญี่ปุ่นทางเรือ
2.เอกสารสำหรับพิธีการศุลกากรขาเข้าใบ Invoice หรือ บัญชีแสดงรายการสินค้าสำหรับการนำเข้าสินค้าเข้ามาในประเทศ เป็นเอกสารที่บอกว่าสินค้าที่คุณนำเข้ามีสินค้าอะไรบ้าง
-Packing list บัญชีรายละเอียดการบรรจุหีบห่อ
-Bill of Landing หรือ Air Way Bill ใบตราส่งสินค้า หรือ ใบตราส่งสินค้าทางอากาศ
-ใบแจ้งยอดประกัน Insurance Premium Invoice
-ใบอนุญาตการนำเข้า หรือ เอกสารอื่นๆสำหรับสินค้าในการควบคุมการนำเข้า
-เอกสารรับรองถิ่นกำเนิด certificate of origin สำหรับสินค้าที่ต้องการลดอากร
-Packing list บัญชีรายละเอียดการบรรจุหีบห่อ
-Bill of Landing หรือ Air Way Bill ใบตราส่งสินค้า หรือ ใบตราส่งสินค้าทางอากาศ
-ใบแจ้งยอดประกัน Insurance Premium Invoice
-ใบอนุญาตการนำเข้า หรือ เอกสารอื่นๆสำหรับสินค้าในการควบคุมการนำเข้า
-เอกสารรับรองถิ่นกำเนิด certificate of origin สำหรับสินค้าที่ต้องการลดอากร
ทั้งหมดนี้จะเห็นได้ว่าปัจจุบันการนำเข้า และ ส่งออกโดยผ่านพิธีการศุลกากรนั้นไม่ยากอย่างสมัยก่อนเนื่องจากปัจจุบันได้มีตัวแทน หรือ ชิปปิ้งเข้ามามีบทบาทในการช่วยเจ้าของกิจการในการดำเนินการต่างๆให้เป็นไปได้อย่างราบรื่น ถูกต้องตามกฎหมายในการส่งออกสินค้า และ นำเข้าสินค้านั้นมีขั้นตอนที่ไม่ยาก และ ไม่ซับซ้อนมีง่ายๆเพียงไม่กี่ขั้นตอนที่ผู้ส่งออก และ นำเข้าต้องปฏิบัติตามกฎหมาย และระเบียบตามประกาศของกรมศุลกากร และ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องอย่างครบถ้วน เป็นการดำเนินการผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์แบบไร้เอกสารก็สามารถทำได้ไม่ยาก
ดังนั้นจากที่กล่าวมาทั้งหมดจะเห็นถึงความแตกต่างของการทำพิธีศุลกากรขาเข้า และ ขาออก อย่างเด่นชัดแล้วซึ่งไม่ได้ยากเย็น แตกต่างกันมากนัก แต่หากต้องการลดขั้นตอนต่าง และ ลดความยุ่งยากเราขอแนะนำบริษัท โรเจอร์ กรุงเทพ จำกัด ซึ่งมีระบบชิปปิ้งสินค้าที่มีมาตรฐาน รวดเร็ว แม่นยำ ปลอดภัย ทั้งใน และ ต่างประเทศ สามารถทำพิธีผ่านศุลกากรขาเข้า และ ขาออกได้อย่างครบถ้วนแม่นยำ จึงมั่นใจได้ว่าสินค้าของท่านจะถูกส่งมอบให้กับผู้รับ ได้อย่างถูกต้อง รวดเร็ว ปลอดภัย อีกทั้งยังมี ผู้เชี่ยวชาญคอยให้คำปรึกษา ทางด้านธุรกิจ สามารถขอคำแนะนำกับทางเราได้ตลอดเวลา มีทีมงานคอยแก้ปัญหาเฉพาะหน้าให้กับลูกค้าได้อย่างทันที เราจึงมั่นใจว่าจะบริการทุกธุรกิจได้อย่างราบรื่นนั้นเอง
ดังนั้นจากที่กล่าวมาทั้งหมดจะเห็นถึงความแตกต่างของการทำพิธีศุลกากรขาเข้า และ ขาออก อย่างเด่นชัดแล้วซึ่งไม่ได้ยากเย็น แตกต่างกันมากนัก แต่หากต้องการลดขั้นตอนต่าง และ ลดความยุ่งยากเราขอแนะนำบริษัท โรเจอร์ กรุงเทพ จำกัด ซึ่งมีระบบชิปปิ้งสินค้าที่มีมาตรฐาน รวดเร็ว แม่นยำ ปลอดภัย ทั้งใน และ ต่างประเทศ สามารถทำพิธีผ่านศุลกากรขาเข้า และ ขาออกได้อย่างครบถ้วนแม่นยำ จึงมั่นใจได้ว่าสินค้าของท่านจะถูกส่งมอบให้กับผู้รับ ได้อย่างถูกต้อง รวดเร็ว ปลอดภัย อีกทั้งยังมี ผู้เชี่ยวชาญคอยให้คำปรึกษา ทางด้านธุรกิจ สามารถขอคำแนะนำกับทางเราได้ตลอดเวลา มีทีมงานคอยแก้ปัญหาเฉพาะหน้าให้กับลูกค้าได้อย่างทันที เราจึงมั่นใจว่าจะบริการทุกธุรกิจได้อย่างราบรื่นนั้นเอง
BY : Jim
ที่มา : https://shorturl.asia/Nv31K
บทความที่เกี่ยวข้อง
ในยุคที่ผู้บริโภคคาดหวังการจัดส่งที่รวดเร็วและแม่นยำ ธุรกิจจึงไม่สามารถพึ่งพาการจัดการคลังสินค้าแบบเดิมได้อีกต่อไป ระบบจัดการคลังสินค้า (Warehouse Management System หรือ WMS) กลายเป็นเครื่องมือสำคัญในการเพิ่มประสิทธิภาพ ลดความผิดพลาด และควบคุมต้นทุนให้กับธุรกิจทุกขนาด
9 พ.ค. 2025
Business Model Canvas คือเครื่องมือที่ช่วยให้ผู้ประกอบการหรือเจ้าของธุรกิจสามารถมองภาพรวมของโมเดลธุรกิจ (Business Model) ได้อย่างชัดเจน รวดเร็ว และเป็นระบบ โดยแบ่งองค์ประกอบหลักของธุรกิจออกเป็น 9 ส่วนบนผืนผ้าใบเดียว (Canvas) ซึ่งสามารถนำมาใช้วางแผน วิเคราะห์ หรือปรับปรุงธุรกิจได้อย่างมีประสิทธิภาพ
9 พ.ค. 2025
ในยุคที่เทคโนโลยีพัฒนาอย่างก้าวกระโดด หุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติเข้ามามีบทบาทในทุกมิติของอุตสาหกรรม หนึ่งในพื้นที่ที่เห็นผลกระทบชัดเจนที่สุดคือ คลังสินค้า ซึ่งเคยเป็นพื้นที่ที่ต้องอาศัยแรงงานคนจำนวนมาก แต่ปัจจุบันกลับเริ่มถูกแทนที่ด้วยแขนกล หุ่นยนต์เคลื่อนที่ และระบบจัดการสินค้าที่ชาญฉลาด
9 พ.ค. 2025