การคำนวณ CBM และน้ำหนักจากขนาดสินค้า
อัพเดทล่าสุด: 7 ก.พ. 2025
560 ผู้เข้าชม
เชื่อว่าเป็นอีกเรืองที่ผู้นำเข้า-ส่งออกไม่ควรมองข้ามไปค่ะ นั่นก็คือการคำนวณคิวและน้ำหนักจากขนาดสินค้า (Dimension Of Goods) สำหรับขนส่งสินค้าทางเรือ (Sea Freight) และ ทางอากาศ (Air Freight) ซึ่งเป็นเรื่องที่ได้ใช้กันเป็นประจำอย่างแน่นอน
แต่ว่า!! ก่อนที่จะไปทำความรู้จักกับวิธีคำนวณคิวและน้ำหนักจากขนาดสินค้าตามที่บอกไปแล้วนั้น เราต้องมาทราบกันก่อนว่าค่าของหน่วยตัวแปรต่างๆที่จะนำไปใช้ในการคำนวณนั่นมีที่มาที่ไปอย่างไร
หน่วยวัดที่ต้องทราบก่อนการคำนวณคิวและน้ำหนักจากขนาดของสินค้า
1 เมตร = 100 เซนติเมตร
1 ฟุต = 30.48 เซนติเมตร
1 เซนติเมตร = 10 มิลลิเมตร
1 นิ้ว = 2.54 เซนติเมตร
1 กิโล = 2.2 ปอนด์
1 ตัน = 1 คิว
1 คิว = 167 กิโล *อ้างอิงจาก Ratio by Airfreight ( 1 : 6000 )*
1 คิว = 1 ลูกบาศก์เมตร = 1 ล้านลูกบาศก์เซนติเมตร
1 เมตร = 100 เซนติเมตร
1 ฟุต = 30.48 เซนติเมตร
1 เซนติเมตร = 10 มิลลิเมตร
1 นิ้ว = 2.54 เซนติเมตร
1 กิโล = 2.2 ปอนด์
1 ตัน = 1 คิว
1 คิว = 167 กิโล *อ้างอิงจาก Ratio by Airfreight ( 1 : 6000 )*
1 คิว = 1 ลูกบาศก์เมตร = 1 ล้านลูกบาศก์เซนติเมตร
เมื่อทราบตัวแปลงค่าหน่วยต่างๆกันไปเรียบร้อยแล้ว ต่อไปนี้เราก็มารู้จักกับวิธีการคำนวนคิวและน้ำหนักจากขนาดสินค้า (Dimension Of Goods)
ตัวอย่างวิธีคำนวณ
1.การคำนวนคิวและน้ำหนักจากขนาดสินค้าหน่วยมิลลิเมตร (mm)
ตัวอย่าง : Cargo details 1Pallets น้ำหนัก 1500Kgs, Dim.W.1900mm x L.3000mm x H.2000mm
*เทียบหน่วย 10 มิลลิเมตร = 1 เซนติเมตร*
(W x L x H)/1ล้านcm3 = (190x300x200cm)/1,000,000 = 11.40cbm
จากโจทย์ตัวอย่าง สรุปได้ว่า:
*กรณีชิปเมนท์ทางเรือสินค้ามีขนาดพื้นที่ 11.40คิว , 1,500กิโล
*กรณีชิปเมนท์ทางแอร์สินค้ามีน้ำหนัก 1,903.80 กิโล (11.40×167=1,903.80) ซึ่งให้ยึดตามน้ำหนักที่คำนวณได้จากขนาดสินค้าโดยจะเรียกว่า Chargeable weight หรือ Volume weight เพราะมีค่ามากกว่าน้ำหนักจริง Gross Weight ที่หนักแค่ 1,500 กิโลกรัมนั่นเอง
1.การคำนวนคิวและน้ำหนักจากขนาดสินค้าหน่วยมิลลิเมตร (mm)
ตัวอย่าง : Cargo details 1Pallets น้ำหนัก 1500Kgs, Dim.W.1900mm x L.3000mm x H.2000mm
*เทียบหน่วย 10 มิลลิเมตร = 1 เซนติเมตร*
(W x L x H)/1ล้านcm3 = (190x300x200cm)/1,000,000 = 11.40cbm
จากโจทย์ตัวอย่าง สรุปได้ว่า:
*กรณีชิปเมนท์ทางเรือสินค้ามีขนาดพื้นที่ 11.40คิว , 1,500กิโล
*กรณีชิปเมนท์ทางแอร์สินค้ามีน้ำหนัก 1,903.80 กิโล (11.40×167=1,903.80) ซึ่งให้ยึดตามน้ำหนักที่คำนวณได้จากขนาดสินค้าโดยจะเรียกว่า Chargeable weight หรือ Volume weight เพราะมีค่ามากกว่าน้ำหนักจริง Gross Weight ที่หนักแค่ 1,500 กิโลกรัมนั่นเอง
2.การคำนวนคิวและน้ำหนักจากขนาดสินค้าหน่วยเซนติเมตร (cm)
ตัวอย่าง : Cargo details 2Pallets น้ำหนัก 1,000Kgs/Pallets, Dim.W.50cm x L.100cm x H 90cm
(W x L x H)/1ล้านcm3 = [(50x100x90cm) x 2Pcs]/1,000,000 = 0.90cbm
จากโจทย์ตัวอย่าง สรุปได้ว่า:
*กรณีชิปเมนท์ทางเรือสินค้ามีขนาดพื้นที่= 2 คิว (1ตัน=1คิว) และ 2,000กิโล
*กรณีชิปเมนท์ทางแอร์สินค้ามีน้ำหนัก=2,000กิโล ซึ่งให้ยึดตามน้ำหนักสินค้าจริง เพราะว่าน้ำหนักจริง Gross Weight มีค่ามากกว่าน้ำหนัก Chargeable weight ที่คำนวณได้แค่ 150กิโลเท่านั้น (0.90×167=150)
ตัวอย่าง : Cargo details 2Pallets น้ำหนัก 1,000Kgs/Pallets, Dim.W.50cm x L.100cm x H 90cm
(W x L x H)/1ล้านcm3 = [(50x100x90cm) x 2Pcs]/1,000,000 = 0.90cbm
จากโจทย์ตัวอย่าง สรุปได้ว่า:
*กรณีชิปเมนท์ทางเรือสินค้ามีขนาดพื้นที่= 2 คิว (1ตัน=1คิว) และ 2,000กิโล
*กรณีชิปเมนท์ทางแอร์สินค้ามีน้ำหนัก=2,000กิโล ซึ่งให้ยึดตามน้ำหนักสินค้าจริง เพราะว่าน้ำหนักจริง Gross Weight มีค่ามากกว่าน้ำหนัก Chargeable weight ที่คำนวณได้แค่ 150กิโลเท่านั้น (0.90×167=150)
3.การคำนวนคิวและน้ำหนักจากขนาดสินค้าหน่วยนิ้ว (inch)
ตัวอย่าง : Cargo details 4Pallets น้ำหนัก 750Kgs/Pallets, Dim. W.30x L.55x H.40
เทียบหน่วย 1 นิ้ว = 2.54 เซนติเมตร
(W x L x H)/1ล้านcm3 = [(76.20×139.70×101.60cm) x 4Pcs]/ 1,000,000 = 4.326cbm
จากโจทย์ตัวอย่าง สรุปได้ว่า:
*กรณีชิปเมนท์ทางเรือสินค้ามีขนาดพื้นที่= 4.326คิว และ 3,000กิโล
*กรณีชิปเมนท์ทางแอร์สินค้ามีน้ำหนัก=3,000กิโล ซึ่งให้ยึดตามน้ำหนักสินค้าจริง เพราะว่าน้ำหนักจริง Gross Weight มีค่ามากกว่าน้ำหนักChargeable weight ที่คำนวณได้แค่ 722.44 กิโลเท่านั้น (4.326×167=722.44)
ตัวอย่าง : Cargo details 4Pallets น้ำหนัก 750Kgs/Pallets, Dim. W.30x L.55x H.40
เทียบหน่วย 1 นิ้ว = 2.54 เซนติเมตร
(W x L x H)/1ล้านcm3 = [(76.20×139.70×101.60cm) x 4Pcs]/ 1,000,000 = 4.326cbm
จากโจทย์ตัวอย่าง สรุปได้ว่า:
*กรณีชิปเมนท์ทางเรือสินค้ามีขนาดพื้นที่= 4.326คิว และ 3,000กิโล
*กรณีชิปเมนท์ทางแอร์สินค้ามีน้ำหนัก=3,000กิโล ซึ่งให้ยึดตามน้ำหนักสินค้าจริง เพราะว่าน้ำหนักจริง Gross Weight มีค่ามากกว่าน้ำหนักChargeable weight ที่คำนวณได้แค่ 722.44 กิโลเท่านั้น (4.326×167=722.44)
BY : Jim
ที่มา : https://shorturl.asia/D4x0X
บทความที่เกี่ยวข้อง
ไม่ว่าคุณจะเป็นผู้บริโภคที่กำลังเลือกซื้อสินค้า หรือผู้ประกอบการที่กำลังสร้างธุรกิจในฝัน การมีความรู้เรื่อง "กฎหมาย" ถือเป็นสิ่งจำเป็นอย่างยิ่งในโลกยุคใหม่นี้ เพราะกฎหมายไม่ใช่แค่เรื่องน่าเบื่อในห้องเรียน แต่คือเครื่องมือสำคัญที่จะช่วย ปกป้องสิทธิ์ ของคุณ และเป็นกรอบกติกาที่ช่วยให้การทำธุรกิจดำเนินไปได้อย่างราบรื่นและเป็นธรรม การไม่รู้กฎหมายอาจทำให้คุณพลาดโอกาส หรือตกเป็นเหยื่อของการฉ้อโกงได้ บล็อกนี้จะสรุปกฎหมายสำคัญที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจำวันและการทำธุรกิจในแบบที่เข้าใจง่าย ๆ เพื่อให้คุณก้าวเดินได้อย่างมั่นใจ ไม่ต้องกลัวโดนเอาเปรียบ!
3 ก.ค. 2025
ทุกครั้งที่คุณสั่งของออนไลน์ หรือเห็นสินค้าวางอยู่บนเชล์ฟในร้านสะดวกซื้อ เคยสงสัยไหมว่ามันเดินทางมาถึงมือคุณได้อย่างไร? เบื้องหลังความสะดวกสบายที่เราได้รับในชีวิตประจำวันคือระบบ "การขนส่ง" และ "โลจิสติกส์" ที่ซับซ้อนแต่มีประสิทธิภาพสูง ซึ่งเป็นเหมือนเส้นเลือดใหญ่หล่อเลี้ยงการค้าและธุรกิจทั่วโลก หากระบบนี้หยุดชะงัก เศรษฐกิจโลกก็จะสะดุดทันที บล็อกนี้จะพาคุณไปเจาะลึกนวัตกรรมสุดล้ำในวงการขนส่งที่กำลังเปลี่ยนโฉมหน้าการเคลื่อนย้ายสินค้าให้รวดเร็ว ปลอดภัย และอัจฉริยะกว่าเดิม!
3 ก.ค. 2025
เคยรู้สึกไหมว่าเงินในกระเป๋าทำไมมันน้อยลงเรื่อย ๆ? ซื้อของได้น้อยลงกว่าเมื่อก่อน ทั้งที่รายได้เท่าเดิม นั่นแหละค่ะ "เงินเฟ้อ" กำลังกัดกินกำลังซื้อของคุณอยู่! หลายคนอาจมองว่าเรื่องเศรษฐกิจเป็นเรื่องไกลตัว แต่ความจริงแล้วมันส่งผลกระทบต่อชีวิตประจำวันของเราโดยตรง บล็อกนี้จะช่วยให้คุณเข้าใจกลไกของเศรษฐกิจมหภาคที่ส่งผลต่อค่าครองชีพ พร้อมเปิดประตูสู่โลกแห่ง การลงทุน ที่แม้ในยามที่เศรษฐกิจผันผวน คุณก็ยังสร้างโอกาสทางการเงินให้ตัวเองได้ มารู้วิธีบริหารเงินให้งอกเงย ไม่ให้เงินเฟ้อมาทำร้ายความฝันทางการเงินของคุณ!
3 ก.ค. 2025